คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit : 3) ครั้งที่ 19/2566 ของคณะวิศวกรรมศาสตร์

วันที่ 12 กรกฎาคม 2566 ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit : 3) ครั้งที่ 19/2566 ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ และรับฟังผลการดำเนินงานที่ผ่านมา รวมทั้งเป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster : การระดมสมอง MU The Way Forward 2022 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ พร้อมผู้บริหารคณะวิศวกรรมศาสตร์ เข้าร่วมการประชุม ณ ห้องประชุม R-114 อาคาร 1 คณะวิศวกรรมศาสตร์ และระบบออนไลน์ โดยมีประเด็น ดังต่อไปนี้

1. เป้าหมายและแผนการดำเนินการที่ส่วนงานได้เสนอไว้ใน University Council Visit ครั้งที่ 2
1. Salaya Smart Liveable City
2. ABET: The 1st ABET Engineering Education in Thailand
3. MUEG and EECi / Amata Corp Collaboration for EEC National Strategy
4. Mahidol Engineering: The Leading of Council of Engineering Deans toward Thailand Engineering Platform
5. World RoboCup 2022: A Mega Event for Promoting Mahidol and International Industrial Collaboration
6. Healthcare and Medical Innovation Hub: Policy, R&D, Standard and Testing, and Commercialization
7. Interdisciplinary Education for New Generation Engineers and Innovators

2. เป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster: การระดมสมอง MU The Way Forward 2022
1. Global Health
1.1 Digital Health
      – AI in Medicine / Medical Robotics / Digital Health Platform
1.2 Global Health
      – Governance Medical Innovation and AI Ethic and Regulations
2. Health & Wellness
2.1 กำหนด Concept ของหลักสูตร Health & Wellness
      – Medical Innovation Program
2.2 สร้างมาตรฐานสถานประกอบการด้าน Health & Wellness ร่วมกับกรมสนับสนุนบริการสุขภาพและภาคเอกชน
      – Medical Robotics and Active Medical Device Standard
2.3 Innovation in Health & Wellness
      – Medical Robotics and Active Medical Device Products
3. Structure & HR Resource
3.1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
      – Global Talents, HRD, IDP, การผลิตกําลังคนสมรรถนะสูง
4. Social Enterprise
4.1 จัดตั้งบริษัทรูปแบบ Social Enterprise และส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชน
      – Rehabilitation Engineering for Disabilities
4.2 ดำเนินการโดยเน้นจุดเด่นของวิทยาเขต
      – Salaya Smart Livable City, Thailand Medical Science Park
5. แผนโครงการขับเคลื่อน Sustainable Development Goals: SDGs
5.1 Healthy Foods
      – Salt Restriction for Hypertension and Kidney Diseases
5.2 Inclusiveness
      – Thailand Mental Health Center
5.3 Capacity Building
      – International Strategic Partnership Program
5.4 Sustainable City & Community (Climate change)
      – Transit Oriented Development, PM 2.5, Urban and Transport Planning, Salaya Liveable City, MQDC-Brain-Computer Interface Technology for Neuroarchitecture

3. โครงการของส่วนงานร่วมผลักดัน SDGs และการจัดตั้ง SDGs Unit มหาวิทยาลัย
การศึกษา
      – Engineering Education Sandbox/ Micro-credit/ Credit Bank
การวิจัย
      – Mahidol- UN ESCAP SDG Solution Lab
บริการวิชาการ และส่งเสริม Community Engagement
      – Engineering for Social Responsibility
Campus Operations
      – Sustainable Energy Transition

คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit : 3) ครั้งที่ 18/2566 ของโครงการจัดตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา

วันที่ 7 กรกฎาคม 2566 ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit : 3) ครั้งที่ 18/2566 ของโครงการจัดตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา และรับฟังผลการดำเนินงานที่ผ่านมา รวมทั้งเป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster : การระดมสมอง MU The Way Forward 2022 โดยมี ดร.วัชรฤทัย บุญธินันท์ ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา พร้อมผู้บริหารโครงการจัดตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา เข้าร่วมการประชุม ณ ห้องประชุม 109 โครงการจัดตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล และผ่านระบบออนไลน์ โดยมีประเด็นดังต่อไปนี้

1. การดำเนินงานตามเป้าหมายและแผนการดำเนินการที่ส่วนงานเสนอไว้ใน University Council Visit 2
1. การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ มุ่งพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาแบบ outcome-based education ในระดับบัณฑิตศึกษา และมุ่งส่งเสริมวัฒนธรรมสิทธิมนุษยชนและสันติภาพในวงกว้าง โดยมีแผนปรับปรุงวิชาเลือกระดับปริญญาตรีให้บรรจุอยู่ในหลักสูตร MUGE ของมหาวิทยาลัย
2. สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าทางสังคม ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ได้แก่ เป้าหมายที่ 4, 5, 10 และ 16
3. ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา ขยายความร่วมมือในการพัฒนาศักยภาพให้บุคลากรทางการศึกษาชาวเมียนมาร์ด้านสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษาในปีงบประมาณ 2565

2. เป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster : การระดมสมอง MU The Way Forward 2022
1.แผนโครงการขับเคลื่อน Sustainable Development Goals: SDGs
1.1 Inclusiveness
      – โครงการเพื่อนรักต่างศาสนากับการสร้างสันติภาพอย่างยั่งยืนจากชุมชนฐานราก
1.2 Capacity Building
      – โครงการ Enhancing Access to Education on Human Rights, Democracy & Peace in Myanmar (สนับสนุนโดยรัฐบาลเนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ เดนมาร์ค)
      – โครงการ Promoting Human Rights and Peace Education in ASEAN/SEA (สนับสนุนโดยมหาวิทยาลัยออสโล นอร์เวย์)
      – โครงการ Strengthening Human Rights and Peace Education and Research in Southeast Asia (สนับสนุนโดยรัฐบาลสวีเดน)

3. โครงการของส่วนงานที่ร่วมสวมผลักดัน SDGs และการจัดตั้ง SDGs Unit ของมหาวิทยาลัย
การศึกษา
      – โครงการ Global Campus of Human Rights Asia-Pacific

บริการวิชาการ และส่งเสริม Community Engagement
      – โครงการเพื่อนรักต่างศาสนากับการสร้างสันติภาพอย่างยั่งยืนจากชุมชนฐานราก

คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit :3) ครั้งที่ 17/2566 ของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

วันที่ 4 กรกฎาคม 2566 ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit : 3) ครั้งที่ 17/2566 ของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล และรับฟังผลการดำเนินงานที่ผ่านมา รวมทั้งเป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster : การระดมสมอง MU The Way Forward 2022 โดยมี ศาสตราจารย์ นายแพทย์อภิชาติ อัศวมงคลกุล คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล พร้อมผู้บริหารคณะฯ เข้าร่วมการประชุม ณ ห้องประชุมคณะฯ ตึกอำนวยการ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และผ่านระบบออนไลน์

1. เป้าหมายและแผนการดำเนินการที่ส่วนงานได้เสนอไว้ใน University Council Visit ครั้งที่ 2
1. โครงการนำร่องโรงพยาบาลอัจฉริยะ (Smart Hospital)
2. ระบบสารสนเทศบริหารการศึกษา SiCMS (ยกเลิกการใช้งานระบบ SiCMS และใช้ระบบ REXX แทนระบบเดิม)
3. Siriraj Research Sandbox (หยุดพักโครงการ ดำเนินการเฉพาะในส่วน Emerging Infectious Disease)
4. โครงการศิริราชสัปปายสถานเพื่อการบริรักษ์เปลี่ยนชื่อเป็น “ศูนย์บริรักษ์ศิริราช : บางใหญ่ นนทบุรี” (เริ่มดำเนินโครงการปีงบประมาณ 2565-2569 เนื่องจากอยู่ระหว่างสรุปราคากลาง คาดว่าจะได้ผู้รับจ้างภายในเดือนกันยายน 2566)
5. โครงการอาคารรักษาพยาบาล และสถานีศิริราช (ดำเนินโครงการปีงบประมาณ 2567-2570)
6. Emerging Infectious Disease

2. เป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster : การระดมสมอง MU The Way Forward 2022
1. Global Health
1.1 Digital Health
      – โครงการนำร่องโรงพยาบาลอัจฉริยะ (Smart Hospital)
1.2 Global Health Governance
      – โครงการวิจัยด้านสุขภาพโดยนิสิตคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. Health & Wellness
2.1 กำหนด Concept ของหลักสูตร Health & Wellness
      – โครงการพัฒนาหลักสูตร ป.ตรีและบัณฑิตศึกษา Flexi Program/ Modules
      – SHEE Online courses การอบรมผ่านระบบ Online
2.2 Innovation in Health & Wellness
      – การจัดตั้ง Siriraj Excellent Innovation Center (SI EIC) ศูนย์ขับเคลื่อนนวัตกรรมเพื่อความเป็นเลิศ
3. Structure & HR Resource
3.1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
      – SI Academy Project (โรงเรียนผู้บริหาร (Executive School), โรงเรียนบริหาร (Management School), โรงเรียนวิชาชีพ (Professional School))
      – Increase Employee HR Self Service Portal เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายในการรับบริการด้านทรัพยากรบุคคลผ่านช่องทางออนไลน์ 24 ชั่วโมง
      – Collaboration with TPQI to Establish Functional Competency Certification เพื่อสร้างการรับรองมาตรฐานวิชาชีพตามความสามารถในการทำงานตามลักษณะงานหรือสายงานที่เฉพาะเจาะจง
4. Social Enterprise
4.1 ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชน โดยเฉพาะผลิตผลจากพืชสมุนไพร
      – โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบ จากองค์ความรู้และงานวิจัย ของสถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ สู่การเป็นผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ กัมมี่สมุนไพรตรีผลา ภายใต้บันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) (ผลิตภัณฑ์ใหม่ : ผลิตภัณฑ์กัมมี่สมุนไพรตรีผลา)
      – โครงการจ้างผลิตแชมพูอัญชัน เป็นผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ ภายใต้สัญญารักษาความลับกับบริษัท ไบโอแลป จำกัด (ส่งเสริมการรับดอกอัญชันเพิ่มมากขึ้นจากเกษตรชุมชน)(ผลิตภัณฑ์แชมพูอัญชัน ที่มีล็อตการผลิตใหญ่)
      – โครงการจัดตั้งห้องปฏิบัติการตรวจสอบและวิเคราะห์ยาและผลิตภัณฑ์สมุนไพรศิริราช (Siriraj Herbal – Drug Examination and Analysis Central Laboratory -SiHAC) (- จำนวนตัวอย่างที่ทำการตรวจสอบ ปีละ 1,000 ตัวอย่าง – จำนวนวิธีทดสอบที่ได้รับรองมาตรฐาน 6 วิธี)
5. แผนโครงการขับเคลื่อน Sustainable Development Goals: SDGs
5.1 Healthy Foods
      – Siriraj Healthy Canteen
      – SIVITT Betagro Collaboration on Healthy Meals for Health Conscious and NCD Preventive Consumers
5.2 Capacity Building
      – แผนพัฒนา lifelong learning platform
      – CAPACITY BUILDING FOR FOREIGN POSTGRADUSTES
5.3 Sustainable City & Community (Climate change)
      – โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการโครงการพลังงานและสาธารณูปโภคอย่างยั่งยืน
      – Siriraj Healthy Organization and Wellbeing หรือ SiHOW โมเดลองค์กรสุขภาวัฒนะ 7 ด้าน

3. โครงการของส่วนงานที่ร่วมผลักดัน SDGs และการจัดตั้ง SDGs Unit ของมหาวิทยาลัย
การวิจัย
1. การทดสอบเทคโนโลยีดิจิทัล และ 5G สำหรับให้บริการรักษาโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันโดยใช้รถโมบายสโตรคยูนิตร่วมกับระบบปรึกษาทางไกล ได้รับทุนจาก สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 85,874,004.60 บาท
2. การพัฒนาห้องปฏิบัติการจีโนมเพื่อรองรับโครงการจีโนมิกส์ประเทศไทย ได้รับทุนจากงบ ววน. 2563 – Re-submit 63 – สวรส. 53,200,000 บาท
3. โครงการพัฒนาโปรแกรมปัญญาประดิษฐ์ในการวินิจฉัยภาพทางรังสี ได้รับทุนจาก กทปส: กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ 35,894,648 บาท
4. One Health Drivers of Antibacterial Resistance in Thailand ได้รับทุนจาก University of Bristol 17,240,000.01 บาท
5. การสำรวจสุขภาวะโรคกระดูกและข้อในผู้สูงอายุของประเทศไทย ระยะที่ 2 และผลกระทบในเชิงเศรษฐศาสตร์ ได้รับทุนจาก วช : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ 15,000,000 บาท

คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit : 3) ครั้งที่ 16/2566 ของโครงการจัดตั้งวิทยาเขตอำนาจเจริญ มหาวิทยาลัยมหิดล

วันที่ 3 กรกฎาคม 2566 ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit : 3) ครั้งที่ 16/2566 ของโครงการจัดตั้งวิทยาเขตอำนาจเจริญ และรับฟังผลการดำเนินงานที่ผ่านมา รวมทั้งเป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster : การระดมสมอง MU The Way Forward 2022 โดยมี นายแพทย์สุรพร ลอยหา รองอธิการบดีฝ่ายโครงการจัดตั้งวิทยาเขตอำนาจเจริญ พร้อมผู้บริหารโครงการจัดตั้งวิทยาเขตอำนาจเจริญ เข้าร่วมการประชุม ณ ห้องประชุม 250 ที่นั่ง อาคารศูนย์การเรียนรู้ชุมชนและวิจัยด้านสิ่งแวดล้อม โครงการจัดตั้งวิทยาเขตอำนาจเจริญ มหาวิทยาลัยมหิดล และผ่านระบบออนไลน์ โดยมีประเด็นดังต่อไปนี้

1. การดำเนินงานตามเป้าหมายและแผนการดำเนินการที่ส่วนงานเสนอไว้ใน University Council Visit 2
      1. ด้านการวิจัย สนับสนุนทุนวิจัยแก่บุคลากรในโครงการจัดตั้งวิทยาเขตอำนาจเจริญ ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพให้มีผลงานวิจัยที่สอดคล้อง ต่อการพัฒนาพื้นที่คุณภาพชีวิตประชาชนในจังหวัดอำนาจเจริญ และเป็นสากล
      2. ด้านการเรียนการสอน การปรับปรุงหลักสูตรเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาโดยการบูรณาการการเรียนการสอนแบบสหสาขา และสนับสนุนส่งเสริมให้มีรายวิชาที่เป็น Flexible Program และ Credit Bank พัฒนาหลักสูตรภายใต้มาตรฐาน AUN-QA
      3. ด้านการบริการวิชาการ การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ โดยร่วมกับสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัวในการเสริมสร้างความคิดเชิงบริหารสำหรับเด็ก (Executive Function) ในพื้นที่โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนฯ และจัดทำแผนพัฒนาด้านเกษตรโดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมภายใต้ศูนย์เทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรม อาทิเช่น การวิจัยผลิตกระชายขาว เป็นต้น
      4. การสร้างและขยายเครือข่ายความร่วมมือไปยังประเทศในแถบลุ่มแม่น้ำโขงด้านวิชาการและการวิจัย เช่น วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สุขภาพสะหวันนะเขตสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม Quang TriMedical College, Hue University, The University of Danang

2. เป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster : การระดมสมอง MU The Way Forward 2022
1. Social Enterprise
1.1 ดำเนินการโดยเน้นจุดเด่นของวิทยาเขต
      – โครงการพัฒนาศักยภาพจังหวัดด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568-2570

2. แผนโครงการขับเคลื่อน Sustainable Development Goals: SDGs
2.1 Inclusiveness
      – โครงการปันรัก ปันสุข เยี่ยมบ้านบูรณาการสำหรับกลุ่มเปราะบาง/ ผู้สูงอายุ
      – โครงการส่งเสริมอาชีพทอผ้าและแปรรูปผ้าขอเอื้อสำหรับผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ ตำบลโนนหนามแท่ง
2.2 Capacity Building
      – งานประชุมวิชาการสาธารณสุข ครั้งที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2565 The 3rd inter-institutional public health conference “Innovation and research for public health development under challenging era”
2.3 Sustainable City & Community (Climate change)
      – ติดตั้งสถานีวัดฝุ่นขนาดเล็ก เพื่อใช้ติดตามและประเมินสถานการณ์ปัญหาฝุ่น PM 2.5 ในพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญ

3. โครงการของส่วนงานที่ร่วมผลักดัน SDGs และการจัดตั้ง SDGs Unit ของมหาวิทยาลัย
3.1 การศึกษา ภาพรวมของหลักสูตรมีการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาที่สอดคล้องกับ SDGs อาทิ
SDG 3 สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี : หลักสูตรสาธารณสุขบัณฑิต เช่น โครงการปันยิ้ม
SDG 4 การศึกษาที่มีคุณภาพ
      – หลักสูตรสาธารณสุขบัณฑิต เช่น การจัดสัมมนาวิชาการเชิญวิทยากรภายนอกมาให้ความรู้ในหัวข้อเกี่ยวกับรายวิชาที่เปิดสอน
      – หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขานวัตกรรมการจัดการสังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น มีการศึกษาดูงานในด้านต่าง ๆ เช่น เศรษฐกิจพอเพียง
SDG 6 น้ำสะอาดและสุขอนามัย
      – หลักสูตรสาธารณสุขบัณฑิต เช่น โครงการลงพื้นที่ต่าง ๆ
      – หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขานวัตกรรมการจัดการสังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น งานวิจัยของนักศึกษาในหัวข้อเกี่ยวกับการจัดการน้ำ
SDG 7 พลังงานสะอาด ราคาถูก : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร์ เช่น รายวิชา อจกษ 331 (ระบบชลประทาน เกษตรกลวิธานและพลังงาน เพื่อการเกษตร)
SDG 8 งานที่ดีและเศรษฐกิจที่เติบโต : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขานวัตกรรมการจัดการสังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น จัดกิจกรรมงานเศรษฐกิจชุมชน
SDG 13 แก้ปัญหาโลกร้อน
      – หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร์ เช่น รายวิชา อจกษ 264/374 การออกแบบภูมิทัศน์และวัสดุพืชพรรณ
      – หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขานวัตกรรมการจัดการสังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น ดูงานการเปลี่ยนแปลงด้านระบบนิเวศ
SDG 15 ชีวิตบนบก
      – หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร์ เช่น รายวิชา อจกษ 351 ความหลากหลายทางทรัพยากรพืชและการประยุกต์ใช้สมุนไพรทางการเกษตร
      – หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขานวัตกรรมการจัดการสังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น การศึกษาระบบนิเวศเขาใหญ่ สำรวจภาคสนามด้านความหลากหลายทางชีวภาพ

3.2 การวิจัย
โครงการสนับสนุนทุนวิจัยจากโจทย์วิจัยในพื้นที่แถบลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง จำนวนทั้งสิ้น 6 โครงการย่อยที่สอดคล้องกับ SDGs ดังนี้
      – SDG 4 โครงการการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบต่อทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ในสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19
      – SDG 4 โครงการการวิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการเขียนอนุเฉทของนักศึกษา ที่ไม่ได้เรียนวิชาเอกภาษาอังกฤษ:การวิเคราะห์เปรียบเทียบในประเทศไทย จีน เวียดนาม ลาว
      – SDG 3 โครงการความสัมพันธ์ระหว่างความชุกของการเกิดโรคระบบทางเดินหายใจ ส่วนบนกับฝุ่น PM2.5 ในกลุ่มผู้สูงอายุเขตสุขภาพที่ 6 และเขตสุขภาพที่ 10
      – SDG 2 โครงการการผสานความร่วมมือกับพันธมิตรในห่วงโซ่อุปทานของผู้ผลิต รายย่อยในระบบอาหารท้องถิ่น: กรณีศึกษาอาหารประเภทผัก บ้านหนองเม็ก ต.คึมใหญ่ อ.เมือง จ.อำนาจเจริญ
      – SDG 2 โครงการ การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของมันพื้นบ้านเพื่อพัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบว่าวและบรรจุภัณฑ์
      – SDG 15 โครงการการวิเคราะห์และจัดทำข้อมูลผังบริเวณพื้นที่สีเขียว โครงการจัดตั้งวิทยาเขตอำนาจเจริญ

3.3 บริการวิชาการ และส่งเสริม Community Engagement
      – โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG)
      – Day Care Center โครงการพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพและสร้างรายได้สำหรับผู้สูงอายุ ในศูนย์ดูแลกลางวันสำหรับผู้สูงอายุโดยชุมชน พื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญ ภายใต้โครงการ “การพัฒนากลไกสานเสริมพลังภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนพื้นที่รูปธรรมสุขภาวะ ภาคอีสาน (โครงการสาน เสริมพลังภาคี)
      – โครงการศึกษาดูงานและฝึกประสบการณ์การเยี่ยมบ้านบูรณาการสหวิชา หลักสูตรสาธารณสุขศาสตร์บัณฑิต
      – หน่วยบริการตรวจวิเคราะห์คุณภภภาพน้ำและอาหาร บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และห้องปฎิบัติการวิทยาศาสตร์

3.4 Campus Operations
      – SDG 6 ผลิตน้ำประปาจากแหล่งน้ำดิบตามธรรมชาติ เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากร เข้าถึงระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานในการอุปโภคบริโภคอย่างยั่งยืน
      – SDG 12 ส่งเสริมแนวปฏิบัติด้านการจัดซื้อจัดจ้างอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
      – SDG 15 กิจกรรมปลูกป่าในวันสำคัญต่าง ๆ ณ พื้นที่ตำบลสร้างนกทา

คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit : 3) ครั้งที่ 15/2566 ของหอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล

วันที่ 29 มิถุนายน 2566 ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit : 3) ครั้งที่ 15/2566 ของหอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล และรับฟังผลการดำเนินงานที่ผ่านมา รวมทั้งเป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster : การระดมสมอง MU The Way Forward 2022 โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นพพล เผ่าสวัสดิ์ ผู้อำนวยการหอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วยผู้บริหารหอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล เข้าร่วมการประชุม ณ บริเวณ Co-MU Space ชั้น 1 หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล และผ่านระบบออนไลน์ โดยมีประเด็นดังต่อไปนี้

1. เป้าหมายและแผนการดำเนินการที่ส่วนงานได้เสนอไว้ใน University Council Visit ครั้งที่ 2
      1. จัดตั้ง Analytic Research Center เป็นศูนย์รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพ ISO 11620
      2. สร้างบรรยากาศส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่ 21
      3. โครงการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ ที่สามารถเผยแพร่องค์ความรู้ด้านการให้บริการห้องสมุดสู่สถาบันการศึกษาทุกระดับในประเทศไทย (Library to Classroom) และ Library Digital KM
      4. โครงการส่งเสริมการเข้าถึงผลงานวิชาการของมหาวิทยาลัยมหิดลด้วยสื่อวีดิทัศน์ ผลิตรายการ The Author
      5. โครงการ “Mahidol Historical Learning Experience เด็กไทยใจมหิดล” จัดทำ Games Application เพื่อเผยแพร่ประวัติศาสตร์และเกียรติภูมิของมหาวิทยาลัยมหิดล และใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนในห้องเรียนสำหรับสถานศึกษาเครือข่ายห้องสมุดโรงเรียนในพื้นที่จังหวัดนครปฐมและกรุงเทพฯ
      6. โครงการพัฒนาห้องสมุดดิจิทัลให้กับโรงเรียนในชุมชนโดยรอบ และเผยแพร่เรื่องราวเชิงประวัติและผลงานของมหาวิทยาลัยไปสู่โรงเรียนต่าง ๆ
      7. ดำเนินกิจกรรมความร่วมมือระดับชาติและนานาชาติ กับสมาชิกภาคีข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค PULINET Plus และกิจกรรมความร่วมมือกับ AUNILO – Libraries of ASEAN University Network ในการร่วมมือแลกเปลี่ยนข้อมูลที่สำคัญ และพัฒนากิจกรรมวิชาการ รวมถึงการลงนามในหนังสือเก็บบันทึกข้อตกลงความเข้าใจที่ตรงกัน (MOU) กับห้องสมุดมหาวิทยาลัยระดับสากล

2. โครงการของส่วนงานที่ร่วมผลักดัน SDGs และการจัดตั้ง SDGs Unit ของมหาวิทยาลัย
บริการวิชาการ และส่งเสริม Community Engagement
      – โครงการบริหารจัดการองค์กรให้เป็นไปตามระบบมาตรฐาน ISO 9001:2015 และ ISO 14001:2015
      – โครงการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพด้านสิ่งแวดล้อม มาตรฐานห้องสมุดสีเขียว สำนักงานสีเขียว และมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศน์

คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit :3) ครั้งที่ 14/2566 ของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

วันที่ 28 มิถุนายน 2566 ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล และทีมผู้บริหาร รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit : 3) ครั้งที่ 14/2566 ของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน และรับฟังผลการดำเนินงานที่ผ่านมา รวมทั้งเป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster : การระดมสมอง MU The Way Forward 2022 โดยมี รองศาสตราจารย์ นายแพทย์วีระพงษ์ ภูมิรัตนประพิณ คณบดีคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมผู้บริหารคณะฯ เข้าร่วมการประชุม ณ ห้องประชุมเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 5 อาคารเฉลิมพระเกียรติ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล และผ่านระบบออนไลน์ โดยมีประเด็นดังต่อไปนี้

1. การดำเนินงานตามเป้าหมายและแผนการดำเนินการที่ส่วนงานเสนอไว้ใน University Council Visit 2
      1. ปี 2564 วางระบบ เตรียมความพร้อม และปี 2565 เปิดให้บริการห้องปฏิบัติการวิจัยชีวนิรภัยระดับ 3 หรือ BSL3 ที่มีเทคโนโลยีความปลอดภัยระดับสูง ให้บริการทั้งบุคลากรภายในคณะฯ และภายนอกคณะฯ
      2. พัฒนาหลักสูตรให้ได้รับการรับรองตามเกณฑ์ AUN-QA ระดับอาเซียน เพิ่มอีก 2 หลักสูตร
      3. เพิ่มจำนวนบุคลากรสายวิชาการเสนอขอทุนต่างประเทศ เพิ่มขึ้นปีละ 10% ต่อปี เช่น ทุน NIH, Wellcome Trust, EU, etc.
      4. จัดตั้งศูนย์พัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยโรคเขตร้อน (IDCTM)
      5. ศูนย์วิชาการและวิจัยด้านเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยวของประเทศไทย

2. เป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster: การระดมสมอง MU The Way Forward 2022
1. Global Health
1.1 Digital Health
      – โครงการ M-Health (ปรับปรุงระบบ มาลาเรีย Mobile Health เพื่อการกำจัดโรคไข้มาลาเรีย)
      – โครงการ Vaccine Information Management System [VIMS] (ระบบบริหารจัดการข้อมูล ที่ครอบคลุมทุกด้านของวัคซีน)
      – โครงการ Public Health Informatics: Where IT Meets Public Health (การประชุมเชิงปฏิบัติการนานาชาติ เชิญผู้เชี่ยวชาญด้านสารสนเทศศาสตร์สุขภาพทั้งในประเทศและต่างประเทศ)
2. Health & Wellness
2.1 กำหนด Concept ของหลักสูตร Health & Wellness
      – โครงการพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นอนามัยโรงเรียน (จัดทำหลักสูตรระยะสั้นแบบ VIRTUAL CONFERENCE)
2.2 สร้างมาตรฐานสถานประกอบการด้าน Health & Wellness ร่วมกับกรมสนับสนุนบริการสุขภาพและภาคเอกชน
      – โครงการอบรมมัคคุเทศก์กับภาคเอกชน (การประชุมวิชาการโดยจะเน้นให้ความรู้ด้านเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยวสำหรับผู้ประกอบการท่องเที่ยว มัคคุเทศก์)
2.3 Innovation in Health & Wellness
      – โครงการตรวจหาไข่พยาธิโดยใช้ AI (Artificial Intelligence: AI)
3. Structure & HR Resource
3.1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
      – โครงการอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสอบ TOEIC (บุคลากรสายสนับสนุนได้มีการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน)
4. แผนโครงการขับเคลื่อน Sustainable Development Goals: SDGs
4.1 Healthy Foods
      – โครงการอาหารสุขภาพในศูนย์อาหาร คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
4.2 Capacity Building
      – โครงการการเขียนขอทุนวิจัยต่างประเทศ (ทุน NIH, Wellcome Trust เป็นต้น)
      – โครงการInternational Research Laboratory: Health, Disease Ecology, Environment and Policy (IRL-HEALTHDEEP), การจัดอบรมและประชุมวิชาการนานาชาติ
      – โครงการ International Training MU-HOKKAIDO-SEOUL ด้าน Health & Environment สำหรับนักศึกษา ปริญญาโทและปริญญาเอก
      – โครงการความร่วมมือทางวิชาการด้านการวิจัย การศึกษา และสาธารณสุขชุมชน กับวิทยาเขตอำนาจเจริญ และวิทยาเขตนครสวรรค์
4.3 Sustainable City & Community (Climate change)
      – โครงการ Solar Roof เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าให้กับโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน

3. โครงการของส่วนงานที่ร่วมผลักดัน SDGs และการจัดตั้ง SDGs Unit ของมหาวิทยาลัย
การศึกษา
      – โครงการพัฒนาบทเรียนดิจิตอล และห้องปฏิบัติการเสมือนจริงโรคเขตร้อน

การวิจัย
      – โครงการ Meet the academic publishers

บริการวิชาการ และส่งเสริม Community Engagement
      – โครงการพลังชุมชนลดการติดโรคหนอนพยาธิ ในกลุ่มประชาชน และนักเรียนพื้นที่ทุรกันดาร แนวตะเข็บชายแดน อ.ท่าสองยาง จ.ตาก

Campus Operations
      – โครงการรณรงค์เขตร้อนรักษ์โลก และกิจกรรมการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit :3) ครั้งที่ 13/2566 ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วันที่ 28 มิถุนายน 2566 ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล และทีมผู้บริหาร รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit : 3) ครั้งที่ 13/2566 ของคณะเภสัชศาสตร์ และรับฟังผลการดำเนินงานที่ผ่านมา รวมทั้งเป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster : การระดมสมอง MU The Way Forward 2022 โดยมี รองศาสตราจารย์ เภสัชกรสุรกิจ นาฑีสุวรรณ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมผู้บริหารคณะฯ เข้าร่วมการประชุม ณ ห้องประชุม 606 อาคารราชรัตน์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และผ่านระบบออนไลน์ โดยมีประเด็นดังต่อไปนี้

1. การดำเนินงานตามเป้าหมายและแผนการดำเนินการที่ส่วนงานเสนอไว้ใน University Council Visit 2
      1. ผลงานวิจัยตีพิมพ์เพิ่มขึ้นเป็น 1.5 เรื่อง/คน/ปี และมีจำนวนการอ้างอิงเฉลี่ย 10 ครั้ง/เรื่อง
      2. ผลักดันและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทยสู่ท้องตลาดทั้งโดยตรงและผ่านความร่วมมือกับพันธมิตรเพื่อสร้างเศรษฐกิจใหม่บนความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศ และให้ประชาชนได้ใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพและปลอดภัย
      3. หลักสูตรปริญญาตรีได้รับการรับรองจาก AUNQA และ ACPE เป็นหลักสูตรแรกของไทย
      4. หลักสูตร PharmD (International) เริ่มดำเนินการรับนักศึกษารุ่นแรกในปี พ.ศ. 2566
      5. โรงงานยาของคณะเริ่มเปิดดำเนินการปี พ.ศ. 2566
      6. ร่วมกับส่วนงานต่างๆ ในมหาวิทยาลัยพัฒนาแพลตฟอร์มกระบวนการคิดค้นและพัฒนายาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (Drug Discovery and Development Platform) ที่ครบวงจร เพื่อยกระดับความสามารถด้านการพัฒนายาและผลิตภัณฑ์สุขภาพของประเทศ

2. เป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster : การระดมสมอง MU The Way Forward 2022
1. Global Health
1.1 Digital Health
      – การบูรณาการฐานข้อมูลเภสัชพันธุศาสตร์ร่วมกับสารสนเทศทางการสาธารณสุข สำหรับการป้องกันการแพ้ยาที่รุนแรง ในการให้บริการในระบบสาธารณสุข (ได้รับทุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข) เพื่อนำไปใช้กับ application หมอพร้อม
1.2 Global Health Governance
      – Health Technology Assessment to support universal health coverage across the globe

2. Health & Wellness
2.1 กำหนด Concept ของหลักสูตร Health & Wellness
      – ร่วมประชุมกับมหาวิทยาลัยในการจัดทำหลักสูตร Health & Wellness และพร้อมส่งมอบอาจารย์และรายวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนหลักสูตรที่มหาวิทยาลัยจะจัดทำ

3. Social Enterprise
3.1 จัดตั้งบริษัทรูปแบบ Social Enterprise และส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชน
      – สนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจของชุมชน (ลพบุรี กาฬสินธุ์ ศรีสะเกษ)

4. แผนโครงการขับเคลื่อน Sustainable Development Goals: SDGs
4.1 Healthy Foods
      – กลุ่มโครงการอาหารทางการแพทย์ และเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพจากข้าว
4.2 Inclusiveness
      – โครงการศึกษาสถานการณ์การจัดบริการด้านเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการของแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และการจัดระบบข้อมูลเพื่อการให้บริการของประเทศไทย และต่างประเทศ
      – การสำรวจค่าใช้จ่ายการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคในประเทศไทยและภาวะวิกฤตทางการเงินต่อผู้ป่วยและครอบครัวแบ่งตามระดับความยากจน
4.3 Capacity Building
      – Capacity Building Training on Health Technology Assessment for Low-to-middle-income countries (LMIC)
4.4 Sustainable City & Community (Climate change)
      – โครงการ “น่าน Sandbox” ผลักดันสมุนไพรสู่การสร้างเศรษฐกิจเพื่อลดความยากจนและรักษาสิ่งแวดล้อม
      – กลุ่มโครงการวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาภูมิปัญญาพื้นบ้านและการใช้พืชสมุนไพรของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในภาคเหนือของประเทศไทยและจากชั้นตะกอนดินในแหล่งโบราณคดี

3. โครงการของส่วนงานที่ร่วมผลักดัน SDGs และการจัดตั้ง SDGs Unit ของมหาวิทยาลัย
การศึกษา
      – การพัฒนาวิชาการศึกษาทั่วไป “สมุนไพรในชีวิตประจำวัน” สำหรับนักศึกษาทุกคณะในมหาวิทยาลัยที่สนใจ (ปัจจุบันแล้วเสร็จไป 2 modules)
      – รายวิชา “สมุนไพรในชีวิตประจำวัน” บน Platform MUx เพื่อสนับสนุน life-long learning ของประชาชน

การวิจัย
      – การวิจัยเพื่อสนับสนุน universal health coverage และ reimbursement policies ของไทยและกลุ่มประเทศ Low-to-middle-income countries (LMIC)
      – การวิจัยเพื่อการกำหนดมาตรฐานสมุนไพรไทยสนับสนุนการขยายตัวของ Thai Herbal Pharmacopoeia และเพิ่มจำนวนสมุนไพรในบัญชียาสมุนไพรแห่งชาติ
      – โครงการฐานข้อมูล chromatographic fingerprint สมุนไพรและตำรับยาสมุนไพรไทย ด้วยเทคนิค LC-MS/MS
      – โครงการวิจัยเกี่ยวกับปัญหาเชื้อดื้อยาและการจัดการ

บริการวิชาการ และส่งเสริม Community Engagement
      – โครงการ Herbal Appreciation (เผยแพร่ความรู้เรื่องสมุนไพร เพื่อส่งเสริมทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับพืชสมุนไพร และให้ความรู้แก่ประชาชนในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นด้วยพืชสมุนไพร)
      – การผลักดันให้ศูนย์วิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์ (ฝ่ายสมุนไพร) ได้รับมาตรฐาน ISO/IEC: 17025:2017 เพื่อยกระดับการประกันคุณภาพผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย
      – ฐานข้อมูลสมุนไพรเพื่อการใช้ประโยชน์ทางเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำหรับใช้ภายนอก (ร่วมกับสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)
      – ฐานข้อมูลอันตรกิริยาระหว่างสมุนไพรกับยาแผนปัจจุบัน

คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit : 3) ครั้งที่ 12/2566 ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วันที่ 28 มิถุนายน 2566 ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit : 3) ครั้งที่ 12/2566 ของคณะวิทยาศาสตร์ และรับฟังผลการดำเนินงานที่ผ่านมา รวมทั้งเป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster : การระดมสมอง MU The Way Forward 2022 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.พลังพล คงเสรี คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ พร้อมผู้บริหารคณะฯ เข้าร่วมการประชุม โดยมีประเด็น ดังต่อไปนี้

1. การดำเนินงานตามเป้าหมายและแผนการดำเนินการที่ส่วนงานเสนอไว้ใน University Council Visit 2
      1. มุ่งหมายเป็นอันดับหนึ่งด้านวิจัยวิทย์ของประเทศ เพื่อชี้นำสังคม รวมถึงสร้างความร่วมมือกับพันธมิตรในต่างประเทศ
      2. มุ่งสร้างบัณฑิตที่พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต สร้างการศึกษา One Mahidol Science Education ทั้งนักศึกษา วิทยาศาสตร์ และวิทยาศาสตร์การแพทย์ พัฒนาหลักสูตรผ่านการรับรองตามเกณฑ์มาตรฐานสากล และหลักสูตรยืดหยุ่นระดับปริญญาตรี โดยมีระบบการสอบ AI-based aptitude test
      3. การสื่อสารวิทยาศาสตร์สู่สาธารณะและใช้ความรู้เพื่อประโยชน์สังคม เพิ่มรายได้จากนวัตกรรม การบริการวิชาการ
      4. Digital Transformation สู่องค์กรที่บริหารจัดการโดยข้อมูลทั้งการศึกษา วิจัยและการดำเนินการ มุ่งจะได้รับรางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารจัดการตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ ในปี 2565 และมีการบริหารจัดการแบบ SDGs-oriented operations
      5. นำ Digital Technology มาใช้เพื่อการศึกษาแบบ hybrid พัฒนาระบบการสอนปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานและวิทยาศาสตร์การแพทย์
      6. Mahidol Downtown Campus เป็นพื้นที่รวมนวัตกรรมและวิทยาการของคณะวิทยาศาสตร์และพันธมิตร

2. เป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster : การระดมสมอง MU The Way Forward 2022
1. Structure & HR Resource
1.1 การปรับโครงสร้าง
      – การบริหารองค์กรรูปแบบใหม่ ลดระดับชั้น มีแผนการปรับโครงสร้างเพื่อความยั่งยืนขององค์กร เช่น ให้มีงานพัฒนาทุนมนุษย์ งานยุทธศาสตร์องค์กร งานการเงิน งานเอกชนสัมพันธ์ และสังคมสัมพันธ์ เป็นต้น การสร้างระบบองค์กรให้สนับสนุนกันและกัน เกิดวัฒนธรรมความร่วมมือ
1.2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
      – การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน ให้เป็นมืออาชีพ มีบทบาทในการพัฒนาตนและขับเคลื่อนองค์กร ปรับเพิ่มความสามารถทางภาษาของบุคลากรตั้งแต่แรกรับ และนโยบาย Global Talent ในองค์กรให้สอดคล้องกับมหาวิทยาลัย
      – การให้โอกาสและการสร้างคนเพื่อสืบทอดตำแหน่งงาน
      – พัฒนา “คน” เพื่อสร้างองค์นวัตกรรม Innovative organization

2. Social Enterprise
2.1 ดำเนินการโดยเน้นจุดเด่นของวิทยาเขต
      – Mahidol Science Corporate Engagement and Innovation การพัฒนานวัตกรรมร่วมกับบริษัทเอกชน องค์กรภาครัฐ และการใช้วิทยาศาสตร์เพื่อผลิตภัณฑ์/บริการเพื่อสังคม เช่น ผลิตภัณฑ์จากของเหลือทิ้งทางการเกษตร พืช และสมุนไพรต่าง ๆ

3. แผนโครงการขับเคลื่อน Sustainable Development Goals: SDGs
3.1 Inclusiveness
      – One Education Science
      – Disability Facilities ทั้งคณะวิทยาศาสตร์ พญาไท และศาลายา เช่น ห้องน้ำ ลิฟต์ ทางลาด รถเข็นไฟฟ้า การสื่อสารโดยใช้ภาษามือ
      – กิจกรรม Pride Month เพื่อความเท่าเทียมทางเพศสภาพ กิจกรรมนักเรียนผู้มีความพิการทางการได้ยิน
3.2 Capacity Building
      – MUSES: Mahidol University Science Education Space เพื่อสนับสนุน/พัฒนาด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์
      – โครงการอบรมครูวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ การจัดกิจกรรมเพื่อนักเรียนและครูระดับมัธยม เช่น Sci-Access, MAS camp, STEM workshop รวมถึง Mahidol Science School Network
      – โครงการสื่อสารวิทยาศาสตร์ Mahidol Science Communication ผ่าน Plain-Language Summary
      – การส่งเสริมการศึกษา/วิจัย ร่วมกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน เช่น การอบรม การศึกษาต่อ การทำวิจัยร่วม
3.3 Sustainable City & Community (Climate change)
      – การอบรมเชิงปฏิบัติการ “รุกขกรระดับปฏิบัติการ” เสริมทักษะการทำงานอย่างปลอดภัย ยกระดับการจัดการต้นไม้ในเมืองให้สวยงามและถูกต้องตามหลักวิชาการอย่างยั่งยืน
      – พลังงานยั่งยืน Solar roof @ Faculty of Science

3. โครงการของส่วนงานที่ร่วมผลักดัน SDGs และการจัดตั้ง SDGs Unit ของมหาวิทยาลัย
การศึกษา
      – SDG4 Quality education: การจัดตั้ง MUSES เพื่อจัดการศึกษาและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาอย่างเป็นระบบร่วมกับพันธมิตรทั้งภาครัฐและเอกชน เช่นระบบ Adaptive aptitude test, Mahidol online test center, hybrid biosafety training/ coding for all เป็นต้น
      – SDG10 ลดความไม่เสมอภาค โดยการให้ทุนนักศึกษาในกลุ่มขาดแคลน

การวิจัย
      – สนับสนุนกลุ่มงานวิจัยที่ตอบสนอง SDGs โดยเฉพาะ SDG3 Good health and well-being, SDG7 Clean and affordable energy, SDG14 Life below water, SDG15 Life on land, SDG13 Climate Action เป็นต้น

บริการวิชาการ และส่งเสริม Community Engagement
      – SDG8 Decent work and economic growth โดยสนับสนุนด้านอุตสาหกรรมสัตว์น้ำ อุตสาหกรรมยางธรรมชาติและพลาสติก อุตสาหกรรมปิโตรเคมี อุตสาหกรรมอาหารและสมุนไพร เป็นต้น

Campus Operations
      – SDG3 Good health and well-being ความปลอดภัย สุขภาพ และคุณภาพชีวิตในองค์กร SDG 5 บรรลุความเท่าเทียมระหว่างเพศ SDG7 Affordable and clean energy SDG10 ลดความไม่เสมอภาค การจ้างงานผู้สูงอายุ และผู้ดูแลผู้พิการ SDG11/17 Sustainable cities and communities/Partnership for the goals ความร่วมมือกับภาคสังคม เช่น การอบรมรุกขกรปฏิบัติการ และโครงการ City Nature Challenge 2023

คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit :3) ครั้งที่ 11/2566 ของคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วันที่ 27 มิถุนายน 2566 ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit : 3) ครั้งที่ 11/2566 ของคณะสัตวแพทยศาสตร์ และรับฟังผลการดำเนินงานที่ผ่านมา รวมทั้งเป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster : การระดมสมอง MU The Way Forward 2022 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร. สัตวแพทย์หญิงวลาสินี ศักดิ์คำดวง คณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์ พร้อมผู้บริหารคณะสัตวแพทยศาสตร์ เข้าร่วมการประชุม ณ ห้องประชุมพยัคไกรสี คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา และผ่านระบบออนไลน์ โดยมีประเด็นดังต่อไปนี้

1. เป้าหมายและแผนการดำเนินการที่ส่วนงานได้เสนอไว้ใน University Council Visit ครั้งที่ 2
1. ผลักดันหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา อย่างน้อย 1 หลักสูตรให้ได้การรับรองตาม AUN-QA
2. ส่งเสริมความเป็นนานาชาติผ่านกิจกรรมทั้งรูปแบบ online และ onsite ให้แก่นักศึกษา
3. รพ.สัตว์ประศุอาทร และรพ.ปศุสัตว์และสัตว์ป่า ปศุปาลัน มุ่งสู่มาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2015 และมาตรฐานสถานพยาบาลสัตว์ในประเทศไทย
4. ศูนย์เฝ้าระวังและติดตามโรคจากสัตว์ป่า สัตว์ต่างถิ่น และสัตว์อพยพและศูนย์ตรวจวินิจฉัยทางการสัตวแพทย์ ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 17025
5. พัฒนาระบบบริหารจัดการโรงพยาบาลและเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ (I-med) เพื่อเชื่อมข้อมูล 2 โรงพยาบาลสัตว์และ 2 ศูนย์
6. พัฒนาการใช้พื้นที่และเพิ่มศักยภาพบริการวิชาการเพื่อเพิ่มรายได้ และสนับสนุนงานวิจัยและการเรียนการสอน

2. เป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster : การระดมสมอง MU The Way Forward 2022
1. Global Health
1.1 Global Health Governance
– โครงการพัฒนาห้องปฏิบัติการ ABSL-3 คณะสัตวแพทยศาสตร์ เพื่อการรับรองมาตรฐานความปลอดภัยทางชีวภาพระดับสากล
– โครงการใช้หุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด

2. Health & Wellness
2.1 สร้างมาตรฐานสถานประกอบการด้าน Health & Wellness ร่วมกับกรมสนับสนุนบริการสุขภาพและภาคเอกชน
– โครงการพัฒนาระบบมาตรฐานสถานพยาบาลสัตว์ในประเทศไทย TAHSA

3. Structure & HR Resource
3.1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
– ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพทรัพยากรบุคคล และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กรอย่างยั่งยืน

4. แผนโครงการขับเคลื่อน Sustainable Development Goals: SDGs
4.1 Sustainable City & Community (Climate change)
– ธำรงคุณภาพมาตรฐาน มอก.2677-2558 ห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยาและการเพาะเลี้ยงเซลล์

3. โครงการของส่วนงานที่ร่วมผลักดัน SDGs และการจัดตั้ง SDGs Unit ของมหาวิทยาลัย
1. บริการวิชาการ และส่งเสริม Community Engagement
– Organizing an expert workshop on health, Wildlife and livelihoods
– Applying surgical sterilization for population control of wild macaques and strayed dogs and cats

คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit : 3) ครั้งที่ 10/2566 ของสถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์และตรวจสารในการกีฬา

วันที่ 23 มิถุนายน 2566 ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit : 3) ครั้งที่ 10/2566 ของสถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์และตรวจสารในการกีฬา และรับฟังผลการดำเนินงานที่ผ่านมา รวมทั้งเป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster : การระดมสมอง MU The Way Forward 2022 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.สิริพงษ์ ฐิตะมาดี ผู้อำนวยการสถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์และตรวจสารในการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วยผู้บริหารสถาบันฯ เข้าร่วมประชุม โดยมีประเด็นดังต่อไปนี้

1.เป้าหมายและแผนการดำเนินการที่ส่วนงานได้เสนอไว้ใน University Council Visit ครั้งที่ 2
1.1 เป็นสถาบันฯ ที่ผลิตนักศึกษาที่เป็นที่ต้องการของหน่วยงานต่าง ๆ
1.2 เป็นสถาบันฯ ที่ผลิตงานวิจัยที่ตอบโจทย์ความต้องการของภาครัฐและเอกชน
1.3 เป็นห้องปฏิบัติการที่มีมาตรฐานระดับสากล อาทิ WADA NATA

2.เป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster : การระดมสมอง MU The Way Forward 2022
2.1 Health & Wellness
      – Innovation in Health & Wellness – Smart Diaper / Multiplex Detection of the Illicit drugs (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี)

3.โครงการของส่วนงานที่ร่วมผลักดัน SDGs และการจัดตั้ง SDGs Unit ของมหาวิทยาลัย
การศึกษา และการวิจัย
      – สร้างหลักประกันการมีสุขภาวะที่ดี และส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับทุกคนในทุกช่วงวัย (SDGs 3)
บริการวิชาการ และส่งเสริม Community Engagement
      – ส่งเสริมสังคมที่สงบสุขและครอบคลุมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้ทุกคนเข้าถึงความยุติธรรม และสร้างสถาบันที่มีประสิทธิผล รับผิดชอบ และครอบคลุมในทุกระดับ (SDGs 16)