วันที่ 24 สิงหาคม 2566 ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit : 3) ครั้งที่ 37/2566 ของสถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล และรับฟังผลการดำเนินงานที่ผ่านมา รวมทั้งเป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster : การระดมสมอง MU The Way Forward 2022 โดยมี ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์นรัตถพล เจริญพันธุ์ ผู้อำนวยการสถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล พร้อมผู้บริหารสถาบันฯ เข้าร่วมการประชุม ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์ นพ.กนก ภาวสุทธิไพศิฐ (A 108) สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล และผ่านระบบออนไลน์ โดยมีประเด็นดังต่อไปนี้

1.การดำเนินงานตามเป้าหมายและแผนการดำเนินการที่ส่วนงานเสนอไว้ใน University Council Visit 2

1. ศูนย์วิจัยประยุกต์และพัฒนานวัตกรรมกุ้ง
2. โครงการจัดทำห้อง Sleep Lab และ Core Facility เพื่อรองรับการศึกษาวิจัยด้าน Chronobiology (Sleep Laboratory & Chronobiology Core Facility)
3. ยื่นสมัครขอรับรางวัล TQC Plus และ TQA โครงการปรับปรุงอาคารวิจัยและพัฒนาวัคซีน Phase 1-2
4. โครงการภายใต้ Reinventing University

–  ปรับปรุงหลักสูตรปริญญาเอกสาขาชีววิทยาศาสตร์เชิงระบบ

– จัดทำหลักสูตรฝึกอบรม Upskill/Re-Skill ทางด้านการผลิตชีววัตถุ การตรวจสอบคุณภาพชีววัตถุและวัคซีน

– อาคารวิจัยประยุกต์และพัฒนานวัตกรรมเพื่อสร้างห้องปฏิบัติการ BSL-3

5. โครงการศูนย์วิจัยและพัฒนาอุปกรณ์ชีวการแพทย์ เพื่อการพัฒนากระบวนการผลิต Recombinant Protein และยาชีววัตถุ (Biologics)

– อนุสิทธิบัตร/สิทธิบัตรกระบวนการผลิตโปรตีน/Biologics

– เป็นต้นแบบผลิตภัณฑ์ระดับ TRL4 ที่ผ่านการทดสอบในระดับสัตว์ทดลอง

– การพัฒนาต้นแบบระดับอุตสาหกรรม หรือการถ่ายทอดเทคโนโลยี หรือจำหน่ายเชิงพาณิชย์

2.เป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster

1. Health & Wellness

1.1 Innovation in Health & Wellness

-โครงการพัฒนาการวิจัยผลิตวัคซีนต้นน้ำ

-การพัฒนายาเกี่ยวกับระบบประสาท และผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์เพื่อการรักษา

2. แผนโครงการขับเคลื่อน Sustainable Development Goals: SDGs

2.1 Capacity Building

-โครงการขอการรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการวิจัยชีวนิรภัยระดับ 3 (BSL3)

-โครงการพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคไข้ซิกาชนิดเชื้อตายโดยใช้เทคโนโลยีเซลล์เพาะเลี้ยง

-โครงการห้องปฏิบัติการ viral vector

3. โครงการของส่วนงานที่ร่วมผลักดัน SDGs และการจัดตั้ง SDGs Unit ของมหาวิทยาลัย

3.1 การศึกษา

โครงการปรับปรุงรายวิชาทางด้าน biologics & vaccine เพื่อสนับสนุนการเข้าถึงความรู้และการเรียนรู้เฉพาะบุคคล – SDGs4 Quality education

3.2 การวิจัย

-โครงการขยายพันธุ์ แม่พันธ์กุ้งก้ามกรามแปลงเพศ MU1 – SDGs2-Zero hunger

-โครงการพัฒนาปรับปรุงมันสำปะหลังสายพันธุ์พิรุณ – SDG2-Zero hunger

3.3 บริการวิชาการ และส่งเสริม Community Engagement

-แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยธาลัสซีเมีย – SDGs3 Good health and Well-being

-โครงการพบผู้ป่วยธาลัสซีเมีย-รพ.ศูนย์นครปฐม – SDGs3 Good health and Well-being

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • สภามกาวิทยาลัยมหิดล

    เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยมหิดลใช้คุกกี้เพื่อจำแนกผู้ใช้งานแต่ละคน โดยทำหน้าที่หลักคือประมวลทางสถิติ ตลอดจนลักษณะเฉพาะของกลุ่มผู้ใช้บริการนั้นๆ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะนำมาใช้ในการวิเคราะห์รูปแบบพฤติกรรม ของผู้ใช้บริการ และมหาวิทยาลัยจะนำผลลัพธ์ดังกล่าวไปใช้ในการปรับปรุงเว็บไซต์ให้ตอบสนองความต้องการ และการใช้งานของผู้ใช้บริการให้ดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามข้อมูลที่ได้แนละใช้ประมวลผลนั้นจะไม่มีการระบุชื่อ หรือบ่ง บอกความเป็นตัวตนของผู้ใช้บริการแต่อย่างใด อีกทั้งไม่มีการเก็บข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ชื่อ, นามสกุล, อีเมล เป็น ต้น และใช้เป็นเพียงข้อมูลทางสถิติเท่านั้น ซึ่งจะช่วยให้มหาวิทยาลัยสามารถมอบประสบการณ์ที่ดีในการใช้งาน เว็บไซต์สำหรับคุณ และช่วยให้สามารถปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นได้ในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้คุณสามารถ เลือกตัวเลือกในการใช้งานคุกกี้ได้

บันทึกการตั้งค่า