วันที่ 15 สิงหาคม 2566 ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล รับฟังผลการดำเนินงานของส่วนงาน (University Council Visit : 3) ครั้งที่ 31/2566 ของ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และรับฟังผลการดำเนินงานที่ผ่านมา รวมทั้งเป้าหมายที่คาดว่าจะดำเนินการของส่วนงานที่สอดคล้องกับ Super Cluster : การระดมสมอง MU The Way Forward 2022 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์ คณบดีคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ พร้อมผู้บริหารคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ เข้าร่วมการประชุม ณ ห้องประชุมกันภัยมหิดล ชั้น 1 อาคารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล และผ่านระบบออนไลน์ โดยมีประเด็นดังต่อไปนี้

1.การดำเนินงานตามเป้าหมายและแผนการดำเนินการที่ส่วนงานเสนอไว้ใน University Council Visit 2

  1. การพัฒนาหลักสูตรระดับปริญญาตรี และปริญญาโท Society Design and Development Program (การออกแบบและพัฒนาสังคม)
  2. โครงการพัฒนาเชิงพื้นที่ร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
  3. ขยายเครือข่ายและพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการของ International Society and Health Consortium
  4. ความร่วมมือในการพัฒนารายวิชาและการวิจัยร่วมด้าน Developmental Studies ภายใต้ Thai-UK World Class University Consortium
  5. SML 3-D Expertise mapping framework
  6. การพัฒนา Management Information System เพื่อยกระดับประสิทธิภาพขององค์กร

2.โครงการของส่วนงานที่ร่วมผลักดัน SDGs และการจัดตั้ง SDGs Unit ของมหาวิทยาลัย

1. Global Health

1.1 Digital Health

– สื่อสร้างสรรค์และนวัตกรรมเชิงเทคโนโลยีเพื่อเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเส้นทางอาชีพของผู้พิการในประเทศไทย

– Need Assessment, Living Conditions, and the Invention of the Assistive Device to Promote the Safety in Daily Life of Individuals with Hearing Impairment in Thailand: Reflecting the Quality of Life in the “New Normal”

– The Invention and the Application of Machine Learning to Detect Level of Depressions of Generation Y and Generation Z in Thailand

1.2 Global Health Governance

1. Lecture Series Graduate Global Health

–  Introduction to Global Health

– Global Health Diplomacy and Instruments

2. Seminar on Pandemic Preparedness and Response

3. Comparative Studies on Health Systems Research, University of Michigan

2. Health & Wellness

1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเวชระเบียน (4+1 CMMU)

2. รายวิชา

– SHHU 162 เพศภาวะกับการพัฒนา

– SHSS 140  จิตวิทยาทั่วไป

– SHSS 142 จิตวิทยาสังคม

– SHSS 306  จิตวิทยาประยุกต์

– SHSS 250 กฎหมายการแพทย์และสาธารณสุข

– SHSS 126  สวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์

– SHSS 306  จิตวิทยาประยุกต์

– SHHU 182 ภาวะยุ่งยากใจเชิงจริยธรรมในการแพทย์ (สอนบล็อกคอร์สให้กับนักศึกษาศิริราช)

– SHSS 184 กฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับสาธารณสุข (สอนบล็อกคอร์สให้กับนักศึกษาศิริราช)

3. โครงการพัฒนาหลักสูตรระดับปริญญาตรีสังคมศาสตร์การแพทย์และสุขภาพ

1.3 Innovation in Health & Wellness

  1. คู่มือการพัฒนาศักยภาพผู้พิการทางการเห็นในการคัดแยกขยะหน้ากากอนามัยและขยะประเภทต่าง ๆ
  2. คู่มือการพัฒนาศักยภาพผู้พิการทางการเห็นในการคัดแยกขยะหน้ากากอนามัยและขยะประเภทต่าง ๆ (อักษรเบลล์)

3. Structure & HR Resource

3.1 การปรับโครงสร้าง

1. การอนุมัติปรับโครงสร้างสำนักงานบูรณาการวิชาการเพื่อสังคม

– หน่วยความเป็นเลิศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน

– หน่วยความเป็นเลิศด้านกฎหมายสุขภาพและคุณภาพชีวิต

– หน่วยความเป็นเลิศด้านเพศภาวะ เพศวิถี และสุขภาพ

– ศูนย์จีนและโลกาภิวัตน์เอเชียศึกษา

3.2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์

– การพัฒนา Management Information System เพื่อยกระดับประสิทธิภาพขององค์กร ระบบการประเมิน Dashboard

– ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน Online (e-PA) Streamline and Systematize

– การพัฒนาทักษะเพื่อพัฒนางาน

4. แผนโครงการขับเคลื่อน Sustainable Development Goals: SDGs

4.1 Healthy Foods

– อาหาร Organic

– โครงการสังคมชวนลดหวาน มัน เค็ม ลดโรคเรื้อรัง

– โครงการประกวดอาหารโซเดียมน้อยแต่อร่อยยืนยาว ในกิจกรรม Low Sodium Policy: KIKOFF “LESS SODIUM, LET’S START”

– โครงการพัฒนาห่วงโซ่อุปทานอาหารยั่งยืนผ่านความร่วมมือทางธุรกิจและธรรมาภิบาล

4.2 Inclusiveness

1. โครงการเสวนางานวิจัยกลุ่มเปราะบางและทิศทางการวิจัยในอนาคต

– โครงการการศึกษาปัญหาการตกเป็นเหยื่อของการฉ้อโกงออนไลน์และผลกระทบต่อสุขภาพจิตในกลุ่มผู้สูงอายุของประเทศ

– โครงการสื่อสร้างสรรค์และนวัตกรรมเชิงเทคโนโลยีเพื่อเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเส้นทางอาชีพของผู้พิการในประเทศไทย

– โครงการถังขยะพูดได้สำหรับผู้พิการทางการเห็น

– โครงการพัฒนาแบบประเมินความเสี่ยงและความจำเป็นในการแก้ไขบำบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน

– Meeting the Children and Families’ Needs: A Comparative Study of Private Sector Provision for Vulnerable Children and Their Families in Thailand

2. การศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์การเลี้ยงดูทดแทนในประเทศไทย: ช่องว่างด้านข้อมูลและแนวทางการดำเนินการที่พบจากการปรับใช้เครื่องมือประเมินความก้าวหน้าว่าด้วยการเลี้ยงดูทดแทน (Tracking Tool)

3. โครงการการประเมินคุณภาพชีวิต (Emotional Exhaustion, Compassion Fatigue, Burn Out) และกลยุทธ์ในการดูแลกายใจเพื่อป้องกัน ลดภาวะหมดไฟ ด้วยวิธี Brain-Spotting & Somato Respiratory Integration

4. Cognitive Behavioral Therapy

4.1 Capacity Building

– โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อออกแบบและพัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัยทางสังคมศาสตร์ให้กับ National University of Laos, Lao PDR

4.2 Sustainable City & Community (Climate change)

– โครงการ Youth Empowerment and Awareness Raising on Climate Impact Reduction (เสริมพลังคนรุ่นใหม่ ใส่ใจภาวะโลกรวน)

-โครงการภาพของกองทัพของประชาชน

3. โครงการของส่วนงานที่ร่วมสวมผลักดัน SDGs และการจัดตั้ง SDGs Unit ของมหาวิทยาลัย

1. การศึกษา

– หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบและพัฒนาสังคม (หลักสูตรไทยและนานาชาติ)

2. การวิจัย

– ทุนสนับสนุนโครงการวิจัยเพื่อเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)

– ทุนสนับสนุนโครงการการทำผลงานวิชาการตามกลุ่ม TRS คลัสเตอร์

– กลุ่มงานวิจัยเกี่ยวกับกลุ่มเปราะบางในสังคม

3. บริการวิชาการ และส่งเสริม Community Engagement

– โครงการวิจัยร่วมกับคู่ความร่วมมือ (คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ)

– โครงการพัฒนาห่วงโซ่อุปทานอาหารยั่งยืนผ่านความร่วมมือทางธุรกิจและธรรมาภิบาล

– Cognitive Behavioral Therapy

4. Campus Operations

– โครงการสานเสวนา เรื่อง “มุมมองบุหรี่ต่อสุขภาพ สังคมและสิ่งแวดล้อม”

– ศูนย์อาหารปลอดภัย

– โครงการสังคมชวนลดหวาน มัน เค็ม ลดโรคเรื้อรัง

– Green office

– โครงการสังคมรักษ์โลก

– โครงการปีเก่าเล่าใหม่

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • สภามกาวิทยาลัยมหิดล

    เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยมหิดลใช้คุกกี้เพื่อจำแนกผู้ใช้งานแต่ละคน โดยทำหน้าที่หลักคือประมวลทางสถิติ ตลอดจนลักษณะเฉพาะของกลุ่มผู้ใช้บริการนั้นๆ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะนำมาใช้ในการวิเคราะห์รูปแบบพฤติกรรม ของผู้ใช้บริการ และมหาวิทยาลัยจะนำผลลัพธ์ดังกล่าวไปใช้ในการปรับปรุงเว็บไซต์ให้ตอบสนองความต้องการ และการใช้งานของผู้ใช้บริการให้ดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามข้อมูลที่ได้แนละใช้ประมวลผลนั้นจะไม่มีการระบุชื่อ หรือบ่ง บอกความเป็นตัวตนของผู้ใช้บริการแต่อย่างใด อีกทั้งไม่มีการเก็บข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ชื่อ, นามสกุล, อีเมล เป็น ต้น และใช้เป็นเพียงข้อมูลทางสถิติเท่านั้น ซึ่งจะช่วยให้มหาวิทยาลัยสามารถมอบประสบการณ์ที่ดีในการใช้งาน เว็บไซต์สำหรับคุณ และช่วยให้สามารถปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นได้ในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้คุณสามารถ เลือกตัวเลือกในการใช้งานคุกกี้ได้

บันทึกการตั้งค่า