วันที่ 21 ตุลาคม 2567 มหาวิทยาลัยมหิดล จัดกิจกรรม Mahidol Town Hall: 103A Journey to Real World Impact โดยมี ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย ทีมบริหารมหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมให้ข้อมูลการดำเนินงาน 100 วัน ผ่าน Key Milestone สำคัญ ที่ทีมบริหารได้ผลักดันจนสำเร็จ และโครงการต่าง ๆ ที่อยู่ระหว่างการดำเนินการเพื่อให้เห็นผลในปี 2568 ตามแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ด้วยกลไก A1-3 ได้แก่ A1 – Synergy Research for Real World Impact A2 – Enable Learners for Lifelong Learning A3 – Financial sustainability People well-being and Process Efficiency ที่จะนำพามหาวิทยาลัยมหิดล ก้าวไปสู่ Real World Impact โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.วิชิตา รักธรรม รองอธิการบดีฝ่ายสื่อสารองค์กรและภาพลักษณ์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นผู้ดำเนินรายการ ในโอกาสนี้ มีผู้บริหารส่วนงาน บุคลากร และนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล เข้าร่วมในกิจกรรม ณ มหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา

กิจกรรม Mahidol Town Hall: 103A Journey to Real World Impact จัดขึ้นเพื่อสื่อสารนโยบายและโครงการที่สนับสนุนยุทธศาสตร์ทั้ง 4 ด้าน ภายใต้เงื่อนไขที่จะต้องทำให้เร็วขึ้น คล่องตัวขึ้น ร่วมกันมากขึ้น และมีความสุขมากขึ้น ด้วยกลไก A1-3 รวมถึงการสร้าง Trust & commitment ของทีมบริหารต่อเป้าหมายของมหาวิทยาลัยที่แสดงถึงความก้าวหน้าในเรื่องสำคัญ ๆ อีกทั้งเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้บุคลากรได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวคิดในการบริหาร การดำเนินงานภายในมหาวิทยาลัย เพื่อประสานความร่วมมือไปยังเป้าหมายและทิศทางเดียวกัน

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • สภามกาวิทยาลัยมหิดล

    เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยมหิดลใช้คุกกี้เพื่อจำแนกผู้ใช้งานแต่ละคน โดยทำหน้าที่หลักคือประมวลทางสถิติ ตลอดจนลักษณะเฉพาะของกลุ่มผู้ใช้บริการนั้นๆ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะนำมาใช้ในการวิเคราะห์รูปแบบพฤติกรรม ของผู้ใช้บริการ และมหาวิทยาลัยจะนำผลลัพธ์ดังกล่าวไปใช้ในการปรับปรุงเว็บไซต์ให้ตอบสนองความต้องการ และการใช้งานของผู้ใช้บริการให้ดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามข้อมูลที่ได้แนละใช้ประมวลผลนั้นจะไม่มีการระบุชื่อ หรือบ่ง บอกความเป็นตัวตนของผู้ใช้บริการแต่อย่างใด อีกทั้งไม่มีการเก็บข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ชื่อ, นามสกุล, อีเมล เป็น ต้น และใช้เป็นเพียงข้อมูลทางสถิติเท่านั้น ซึ่งจะช่วยให้มหาวิทยาลัยสามารถมอบประสบการณ์ที่ดีในการใช้งาน เว็บไซต์สำหรับคุณ และช่วยให้สามารถปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นได้ในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้คุณสามารถ เลือกตัวเลือกในการใช้งานคุกกี้ได้

บันทึกการตั้งค่า